Page 8 - คู่มือประกันคุณภาพการฝึกอบรม ปี 2566-2570
P. 8

๓.๒ มาตรฐาน ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพบก

                                     กองทัพบกกําหนดใหใชระบบประกันคุณภาพการศึกษาของประเทศ ดังนั้น แตละ
                  สถาบันการศึกษาทางทหารสามารถพิจารณา ดําเนินการกําหนดระบบ กลไกมาตรฐาน ตัวชี้วัดคุณภาพที่เปน
                  ความเฉพาะทางของสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และพรอมรับการประเมิน
                  คุณภาพจากหนวยที่เกี่ยวของ โดยมาตรฐานจะตองสอดคลองกับภารกิจของสถาบันการศึกษา กองทัพบก
                  สังคมและประเทศชาติตามกรอบมาตรฐานที่กําหนด

                  ๔. นิยามศัพท
                             มาตรฐานการประกันคุณภาพการฝกอบรม หมายถึง การดําเนินการตามระบบ และกลไกโดยใช
                  แนวคิดหลักจากทฤษฎีระบบ (System  Theory)  ตั้งแต การตรวจสอบความจําเปนการเปดหลักสูตรการ

                  ฝกอบรม การดําเนินการจัดการฝกอบรม การประเมิน และติดตามผลผูสําเร็จการฝกอบรม โดยแตละหลักสูตร
                  การฝกอบรม ตองมีการประเมินผลการดําเนินงาน ประกอบดวย
                                   มาตรฐานที่ ๑ หลักสูตร และการจัดการฝกอบรม
                                  มาตรฐานที่ ๒ ครู อาจารย ผูสอน/วิทยากร
                                  มาตรฐานที่ ๓ ผูเขารับการฝกอบรม

                                  มาตรฐานที่ ๔ สิ่งอุปกรณสนับสนุนการฝกอบรม
                             การวิเคราะหความจําเปนในการฝกอบรม หมายถึง การวิเคราะหสมรรถนะของตําแหนง
                  สมรรถนะกําลังพลในตําแหนงนั้น ๆ วามีชองวางใดที่ยังขาดสมรรถนะนั้น ๆ อยู รวมถึงวิเคราะหผลสํารวจ

                  ความตองการในการฝกอบรมของกําลังพล และความจําเปนของผูบังคับบัญชา วากําลังพลในสังกัดยังขาด
                  ความรูหรือทักษะใดที่จําเปนตอการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                             การออกแบบหลักสูตรการฝกอบรม (Training Curriculum) หมายถึง เปนกระบวนการ
                  ที่ตอเนื่องจากการวิเคราะหความจําเปนในการฝกอบรม โดยนําขอมูลหลังจากการวิเคราะหมาเปนแนวทาง

                  ในการออกแบบหลักสูตร โดยการกําหนดหัวขอ เนื้อหา วิธีการ รวมถึงรายละเอียดตาง ๆ ในการกําหนด
                  รูปแบบหลักสูตรเพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม เกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคของหลักสูตรการฝกอบรม
                             การฝกอบรม หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบใหแกผูเขารับการ
                  ฝกอบรมเพื่อพัฒนากําลังพล หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไมมีปริญญา หรือประกาศนียบัตร

                  วิชาชีพ เปนการจัดการฝกอบรมในหลักสูตรหลัก หรือหลักสูตรแนวทางรับราชการ หลักสูตรผูชํานาญการ
                  หลักสูตรเฉพาะหนาที่ หรือหลักสูตรการฝกอบรมตาง ๆ ของหนวยงานที่ดําเนินการจัดการฝกอบรมของ
                  กองทัพบก โดยมุงที่จะกอใหเกิดหรือพัฒนาความรู ทักษะ ปรับทัศนคติในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง
                  ประกอบกัน ตามความจําเปนที่สอดคลองกับภาระหนาที่ ความรับผิดชอบของผูเขารับการฝกอบรมและ

                  จุดมุงหมายในการพัฒนาหนวยงาน และขีดความสามารถของกองทัพบกซึ่งกําหนดไวในจุดมุงหมายหลักสูตร
                  และคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูสําเร็จการฝกอบรม
                             ผูเขารับการฝกอบรม หมายถึง นักเรียนทหาร นักศึกษาวิชาทหาร กําลังพลกองทัพบก

                  บุคลากรของรัฐหรือบุคคลซึ่งไมใชบุคลากรของรัฐ ที่เขารับการฝกอบรม เปนกลุมเปาหมายที่ระบุไวใน
                  หลักสูตร
                             หลักสูตรการฝกอบรม หมายถึง หัวขอวิชา เนื้อหาสาระ วิธีการ กิจกรรม ประสบการณที่ผูจัด
                  การฝกอบรมจัดใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดานความรู ทักษะ และทัศนคติไป
                  ในทิศทางที่ไดกําหนดไว ในวัตถุประสงคของหลักสูตรชัดเจน ซึ่งไดจัดทําอยางถูกตองและเปนระบบ โดยไดรับ

                  การอนุมัติใหใชจัดการฝกอบรมในกองทัพบก



                                                                คูมือการประกันคุณภาพการฝกอบรม พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐   ๓
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13