Page 7 - คู่มือประกันคุณภาพการฝึกอบรม ปี 2566-2570
P. 7

๑.๓.๖ เพื่อใหการฝกอบรม และการศึกษาของกําลังพลสํารองเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
                  ตามระบบการฝกศึกษากําลังพลสํารอง โดยสามารถปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงที่ไดรับการบรรจุ และปฏิบัติงาน

                  รวมกับกําลังพลหรือหนวยทหารประจําการตามแผนปองกันประเทศได
                                 ๑.๓.๗ เพื่อใหกําลังพลของกองทัพบก ที่ไดรับการบรรจุตามนโยบายประจําป มีคุณลักษณะ
                  ทางทหารตามเกณฑที่กองทัพบกกําหนด

                  ๒. วัตถุประสงคการประกันคุณภาพการฝกอบรมของกองทัพบก
                             ๒.๑ เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการฝกอบรมของสถานศึกษา และกองทัพบก

                             ๒.๒ เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกผูมีสวนเกี่ยวของวาสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมี
                  คุณภาพตามมาตรฐาน ผูที่ผานการฝกอบรมมีมาตรฐานตามหลักสูตร สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมี
                  ประสิทธิภาพ
                             ๒.๓ เพื่อติดตาม แนะนํา กํากับดูแล การดําเนินการของสถานศึกษาใหเปนไปตามเปาหมาย
                  การฝกอบรม/การศึกษาของกองทัพบก


                  ๓. การจัดทํามาตรฐาน ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการฝกอบรม
                             การจัดทํามาตรฐาน ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการฝกอบรมของกองทัพบก ที่ใชในการประกัน
                  คุณภาพในปงบประมาณ ๒๕๖๖ -  ๒๕๗๐ ไดดําเนินการตามนโยบายการฝกอบรม และการศึกษาของ
                  กองทัพบก พ.ศ. ๒๕๖๖ -  ๒๕๗๐ เปนสําคัญ คือ ปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพการฝกอบรม สําหรับ

                  หลักสูตรทางทหารของสถาบันการศึกษาทางทหาร หนวยสายวิทยาการ โรงเรียนหนวยและเหลาสายวิทยาการ
                  และหนวยจัดการฝกอบรมของกองทัพบก โดยใหเนนการปฏิบัติในระดับบุคคล ใหมีความสอดคลองกับ
                  วัตถุประสงคของหลักสูตร และความตองการของกองทัพบก รวมทั้งแนวทางการฝกอบรมหลักสูตรทางทหาร
                  ของกองทัพมิตรประเทศ สําหรับสถาบันการศึกษาทางทหารที่จัดการเรียนการสอนหลักสูตรทางพลเรือนใหใช

                  การประกันคุณภาพการศึกษาเปนหลัก เชนเดียวกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาของประเทศ ดังนั้น
                  ในสวนของการประกันคุณภาพการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบกจึงมิไดกําหนดเกณฑมาตรฐาน ตัวชี้วัดการ
                  ประกันคุณภาพและกําหนดกรอบใหสถาบันการศึกษาทางทหารที่จะตองดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
                  ไปกําหนดมาตรฐานคุณภาพตามนโยบายที่ กองทัพบกกําหนด

                             ๓.๑ มาตรฐาน ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการฝกอบรมของกองทัพบก
                                     ไดนํามาตรฐาน ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการฝกอบรมของกองทัพบก พ.ศ. ๒๕๖๕
                  ที่เปนการประเมินคุณภาพหลักสูตรมาใชเพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการดําเนินงานตอจากป ๒๕๖๕ โดยพัฒนา

                  เพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความทันสมัย ลดความซ้ําซอน เนนประโยชน ประเภทของหลักสูตร และสอดคลองกับ
                  สถานการณ ซึ่งยังคงใหความสําคัญกับมาตรฐาน ๔ ดานหรือ ๔ เสาหลัก ไดแก หลักสูตรและการจัดการเรียนรู,
                  ครู อาจารย, ผูเรียน และสิ่งอํานวยความสะดวก และแนวทางที่เจากรมยุทธศึกษาทหารบก ไดมอบใหในการ
                  ดําเนินงานประกันคุณภาพ คือ การทํางานคุณภาพอยางมีความสุขโดยใชวงจรคุณภาพ PDSA เปนสวนหนึ่งใน
                  กระบวนการทํางานปกติทุก ๆ งาน ซึ่งไดมีการปรับตัวชี้วัดและเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรมของ

                  กองทัพบก พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๐ ประกอบดวย มาตรฐานที่ ๑ หลักสูตร และการจัดการฝกอบรม มาตรฐานที่ ๒
                  ครู อาจารย ผูสอน/วิทยากร มาตรฐานที่ ๓ ผูเขารับการฝกอบรม และ มาตรฐานที่ ๔ สิ่งอุปกรณสนับสนุนการ
                  ฝกอบรม โดยจะอธิบาย ในบทที่ ๓ ตอไป










                                                                คูมือการประกันคุณภาพการฝกอบรม พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐   ๒
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12