Page 36 - คู่มือประกันคุณภาพการฝึกอบรม ปี 2566-2570
P. 36

ขอมูลประกอบการพิจารณาและเกณฑการประเมิน
                      เกณฑการพิจารณา                    ขอมูลประกอบการพิจารณาและเกณฑการประเมิน
                  ๒. ผูสําเร็จการฝกอบรมนํา  ๐ คะแนน              ๑ คะแนน                   ๒ คะแนน
                    ความรูไปใชประโยชน    • ไมรายงานในระบบ  • รายงานในระบบ       • รายงานในระบบ
                      (๒ คะแนน)           • ไมมีการดําเนินการ  • รายงานผลการติดตามผูสําเร็จการ  • รายงานผลการติดตามผูสําเร็จการ
                                                            ฝกอบรมรายบุคคลสามารถนํา     ฝกอบรมรายบุคคลสามารถนํา
                                                            ความรูไปใชประโยชนในการ     ความรูไปใชประโยชนในการ
                                                            ปฏิบัติงานไดจริง         ปฏิบัติงานไดจริง
                                                           • จํานวนผูสําเร็จการฝกอบรม     • จํานวนผูสําเร็จการฝกอบรม
                                                             ที่รายงาน รอยละ ๘๐       ที่รายงาน รอยละ ๘๐
                                                             เทากับ ๑ คะแนน           เทากับ ๑ คะแนน
                                                                                    • จํานวนผูที่นําความรูไปใชประโยชน
                                                                                      รอยละ ๘๐ ของผูที่ตอบกลับเทากับ
                                                                                      ๑ คะแนน
                  หมายเหตุ
                             รายงานผลการติดตามผูสําเร็จการฝกอบรมรายบุคคลสามารถนําความรูไปใชประโยชนในการ

                  ปฏิบัติงานไดจริง (สามารถนําไปใชประโยชนตอหนวยงานตนสังกัดในระหวางการฝกอบรม หรือภายใน ๓๐ วัน
                  หลังสําเร็จการฝกอบรม) เชน การนําไปขยายผลใหเพื่อนรวมงาน การจัดการฝกอบรมแบบ Unit School สรุปเปน
                  ชุดการเรียนรู การปรับปรุงระเบียบการปฏิบัติ การสรางสรรคผลงาน การนําไปใชในการปฏิบัติงาน ฯลฯ
                  โดยรายงานเปนตารางสรุปขอมูลตามสภาพจริงพรอมหลักฐาน/เอกสารอางอิงการปฏิบัติ



                                              มาตรฐานที่ ๔ สิ่งอุปกรณสนับสนุนการฝกอบรม

                  คําอธิบายมาตรฐาน
                             ในการจัดการฝกอบรมแตละหลักสูตร สิ่งสนับสนุนการเรียนรู เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่จะทํา
                  ใหการจัดการฝกอบรมมีประสิทธิภาพ เปนไปตามจุดมุงหมายหลักสูตร ซึ่งประกอบดวย ความพรอมทางกายภาพ

                  ความพรอมดานอุปกรณ ความพรอมดานเทคโนโลยี
                  ตัวชี้วัดที่ ๘ ความพรอมของสิ่งอุปกรณสนับสนุนการฝกอบรม


                  คําอธิบายตัวชี้วัด
                             นโยบายกองทัพบกใหเรงรัดปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณประกอบการเรียนการสอน รวมทั้ง
                  เอกสาร ตํารา แนวสอน โสตทัศนูปกรณ คอมพิวเตอร เครื่องมือทดลอง การศึกษาทางไกล หองปฏิบัติการ
                  เฉพาะทาง และเครื่องชวยฝก ใหมีความสมบูรณและทันสมัย ตลอดจนปรับปรุงหองเรียนใหเปนหอง
                  เอนกประสงค (Multipurpose Classroom) เพื่อใหสามารถใชประโยชนหองเรียนไดหลากหลายวัตถุประสงค

                  และมีความออนตัวในการดําเนินการ สอดคลองกับขอบเขตภารกิจของหนวย ประเภทหลักสูตรที่รับผิดชอบ
                  และกรอบงบประมาณที่ไดรับจัดสรรในภาพรวม นอกจากนี้ ใหพิจารณานําอุปกรณการเรียนการสอน ซึ่งเปน
                  ผลมาจากการวิจัยพัฒนา และประดิษฐขึ้นของหนวยตาง ๆ มาใชในการเรียนการสอนใหกวางขวางยิ่งขึ้น เพื่อ

                  อํานวยความสะดวก สรางบรรยากาศ และเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนใหสูงขึ้น โดยพัฒนาบุคลากร
                  เพื่อใหสามารถใชงาน ดูแลรักษา และปรนนิบัติบํารุงสิ่งอุปกรณประกอบการเรียนการสอน ไดอยางคุมคาและ
                  คงทน รวมทั้งจัดใหมีระบบการดูแลรักษา และปรนนิบัติบํารุงอุปกรณตามวงรอบที่มีประสิทธิภาพ





                                                                คูมือการประกันคุณภาพการฝกอบรม พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐   ๓๑
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41