Page 40 - คู่มือประกันคุณภาพการฝึกอบรม ปี 2566-2570
P. 40

๓. ปรับปรุงหลักสูตรใหสามารถรองรับการจัดการฝกอบรมผานสื่ออิเล็กทรอนิกส  (E-learning)
                  รวมถึงการประเมินผลการฝกอบรมผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ใหเปนมาตรฐาน สามารถวัดผลการปฏิบัติไดอยาง

                  มีประสิทธิภาพ
                             ๔. ใหการฝกอบรมในหลักสูตรหลักประจําแกนายทหารสัญญาบัตรของกองทัพบกทั้งทางยุทธวิธี
                  เสนาธิการกิจ และการชวยรบระดับกองพลและกองทัพนอย เพื่อใหมีความสัมพันธตอเนื่องไปยังหนวยระดับ
                  ยุทธการ และสามารถปฏิบัติหนาที่ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการระดับสูงในการปฏิบัติงานตามแผนปองกัน
                  ประเทศไดอยางแทจริง

                             ๕. พัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรเพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางดานการทหาร ยุทธศาสตร และ
                  ความมั่นคงที่มีขีดความสามารถในการวิจัย ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชกับบริบทของสังคมและกองทัพไทย
                  ไดอยางเหมาะสม มีภาวะผูนําสูงและมีจิตสํานึกในการเสียสละและการใหบริการสังคม

                             ๖. ปรับปรุงหลักสูตรนายทหารบกอาวุโส ใหมีเนื้อหาสอดคลองและเหมาะสมกับวิทยฐานะของ
                  ผูเขารับการฝกอบรม และการศึกษาและระยะเวลาการฝกอบรม และการศึกษา ทั้งทางยุทธวิธี เสนาธิการกิจ
                  การชวยรบ การพัฒนาประเทศ และการบริหารของหนวยระดับกองทัพนอย กองพล มณฑลทหารบก หรือ
                  หนวยเทียบเทาขึ้นไป เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาที่ระดับหัวหนากองหรือเทียบเทาได

                  โรงเรียนนายสิบทหารบก

                             ๑. ใหการฝกอบรมแกนักเรียนนายสิบเพื่อใหเปนผูมีคุณลักษณะผูนําที่ดี มีวินัย   มีความกลาหาญ
                  เสียสละ รูแบบธรรมเนียมของกองทัพบก มีอุดมการณในการอุทิศตนเพื่อชาติ ศาสน กษัตริย และประชาชน
                  และมีความรูเพียงพอสําหรับเขารับการฝกอบรมวิชาชีพเฉพาะเหลาในโรงเรียนเหลาสายวิทยาการกอนสําเร็จ
                  การศึกษาเปนนายทหารประทวนหลักของกองทัพบก

                             ๒. ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรใหมีความทันสมัย สอดคลองกับความตองการของกองทัพบก
                  ตามยุทธศาสตรกองทัพบก และแผนพัฒนากองทัพบก โดยใหนําเนื้อหาวิชาที่มีความสําคัญ และจําเปนตอ
                  การปฏิบัติภารกิจของกองทัพบกเขาไวในหลักสูตร เชน ประวัติศาสตรชาติไทย หนาที่พลเมือง หลักสูตร
                  ตานทุจริตศึกษา จิตอาสา การเงินสวนบุคคล และกฎหมาย รวมถึงสอดแทรกองคความรูดานความมั่นคง

                  ปลอดภัยทางไซเบอร และภัยคุกคามดานความมั่นคงในมิติตาง ๆ ที่อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานของ
                  กองทัพบกไวในหลักสูตร
                             ๓. พัฒนารูปแบบการจัดการฝกอบรมโดยเนนการฝกปฏิบัติ (Active Learning) เพื่อใหนักเรียน
                  นายสิบไดเรียนรู และสามารถพัฒนาองคความรูไดดวยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ

                             ๔. พัฒนารูปแบบการประเมินผล โดยเนนการประเมินผลการปฏิบัติเปนรายบุคคลใหเปนไปตาม
                  วัตถุประสงค และเปาหมายของหลักสูตร เพื่อใหนักเรียนนายสิบสามารถขยายผลและพัฒนาองคความรู และ
                  ขีดความสามารถทางทหารอยางตอเนื่อง ในระหวางการฝกอบรมในโรงเรียนเหลาสายวิทยาการและการรับ

                  ราชการตอไปในอนาคต
                             ๕. เสริมสรางทักษะดานดิจิทัลและภาษาอังกฤษ เพื่อใหนักเรียนนายสิบมีความพรอมในขั้นตน
                  สําหรับการปฏิบัติภารกิจรวมกับมิตรประเทศ รวมทั้งเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูตลอดชีวิต
                             ๖. สงเสริมครู อาจารย ไดมีโอกาสในการพัฒนาองคความรู และขีดความสามารถโดยสงเขารวม
                  กิจกรรม การฝกอบรม รวมทั้งสนับสนุนใหมีวิทยฐานะ เพื่อใหสามารถนําองคความรูมาพัฒนาระบบ

                  การฝกอบรมของ โรงเรียนนายสิบทหารบก ไดอยางมีประสิทธิภาพ
                             ๗. เรงรัดการจัดหาสิ่งอุปกรณ เครื่องชวยฝก ใหเพียงพอสําหรับการจัดการฝกอบรมไดอยาง
                  มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการใชงานอุปกรณ และเครื่องชวยฝกที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถตอบสนองตอ

                  การฝกปฏิบัติในการใชงาน และการบํารุงรักษา ยุทโธปกรณที่มีอยูในอัตราได


                                                                คูมือการประกันคุณภาพการฝกอบรม พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐   ๓๕
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45